Sustainable Development Goals (SDGs)

 

  • Home
  • The 17 Goals
  • Annual Report

Sustainable Development Goals (SDGs) 2019

  • 1. NO PROVERTY*
  • 2. ZERO HUNGER*
  • 3. GOOD HEALTH AND WELL-BEING*
  • 4. QUALITY EDUCATION*
  • 5. GENDER EQUALITY*
  • 6. CLEAN WATER AND SANITATION*
  • 7. AFFORDABLE AND CLEAN ENERGY*
  • 8. DECENT WORK AND ECONOMIC GROWTH
  • 9. INDUSTRY, INNOVATION AND INFRASTRUCTURE*
  • 10. REDUCED INEQUALITIES*
  • 11. SUSTAINABLE CITIES AND COMMUNITIES *
  • 12. RESPONSIBLE CONSUMPTION AND PRODUCTION*
  • 13. CLIMATE ACTION
  • 14. LIFE BELOW WATER
  • 15. LIFE ON LAND*
  • 16. PLACE, JUSTICS AND STRONG INSTITUTIONS*
  • 17. PARTNERSHIPS FOR THE GOALS*

 


3. GOOD HEALTH AND WELL-BEING

เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย

Research

Psychological factors associated with functional recovery among patients with a peripheral arterial disease after lower extremity bypass

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: Psychological factors associated with functional recovery among patients with a peripheral arterial disease after lower extremity bypass
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: Functional recovery, described by walking ability, is one of the significant outcomes for patients with peripheral arterial disease (PAD) after lower extremity bypass. Little is known about associated factors that help to improve this outcome.
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: Data were collected in a University Hospital in Bangkok, Thailand. A sample of 77 patients with PAD receiving lower extremity bypass treatment was recruited into the study.
วัตถุประสงค์: To examine factors associated with functional recovery among patients with PAD after lower extremity bypass, such as postoperative period, social support, and depression.
แหล่งทุนสนับสนุน: China Medical Board of New York,Inc., and Faculty of Nursing, Mahidol University
หน่วยงานที่ร่วมมือ: Faculty  of  Medicine  Siriraj  Hospital,  MahidolUniversity
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้):  
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1062030318301316
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
Improved adherence in older patients with hypertension: An observational study of a community-based intervention

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: Improved adherence in older patients with hypertension: An observational study of a community-based intervention
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: Although high-quality treatment and modern hypertension clinical practice guidelines have been developed worldwide, the outcomes of patients with hypertension in Thailand are not optimal. Implementing a person-centred and integrated health services model to improve hypertension management, such as a community-based intervention, is challenging for healthcare providers in Thailand.
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: The study comprised residents in 17 villages in one province of Thailand
วัตถุประสงค์: This study sought to assess the effect of a community-based intervention influencing adherence status at baseline, 1, 3 and 6 months, and to evaluate the impact that a community-based intervention and socio-economic factors have on adherence.
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ: Faculty of Nursing, Chulalongkorn University, Thailand,
Oxford Institute of Nursing, Midwifery & Allied Health Research (OxINMAHR), Oxford, UK,
Faculty of Health, University of Technology Sydney, Sydney, New South Wales, Australia,
Department of Acute and Chronic Care, The Johns Hopkins University, Baltimore, Maryland
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ: ระหว่างประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): This study provides evidence to support the use of community-based interventions as an effective adjunct to hospital-based care of hypertension patients in Thailand.
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://onlinelibrary.wiley.com/doi/full/10.1111/opn.12248
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
Physical Symptoms, Unmet Needs, and Quality of Life in Thai Cancer Survivors after the Completion of Primary Treatment

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: Physical Symptoms, Unmet Needs, and Quality of Life in Thai Cancer Survivors after the Completion of Primary Treatment
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: Ongoing advances in medical technology for cancer
diagnosis and treatment have resulted in greater numbers of
cancer survivors worldwide, including Thailand. A cancer
survivor refers to a person who has survived after cancer
diagnosis and who has been able to maintain life balance up
to the present time regardless of the remaining length of his/
her life.
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: A cross-sectional survey was conducted among five
different types of cancer survivors after the completion
of primary treatment as a secondary analysis of the Thai
dataset, with new, additional data incorporated, which was
part of a larger international collaborative study of cancer
survivors in nine high- and low-income countries in Asia.
วัตถุประสงค์:  This study investigated physical symptoms, unmet
supportive care needs, and quality of life (QoL) perception
among different types of Thai cancer survivors who had
completed first-line treatment
แหล่งทุนสนับสนุน: The Hong Kong Polytechnic University
หน่วยงานที่ร่วมมือ: Nursing Department, Lopburi Cancer Hospital, Lopburi, Thailand
School of Nursing, The Hong Kong Polytechnic University, Kowloon, Hong Kong
ผู้มีส่วนได้เสีย: Lopburi Cancer Hospital
ระดับความร่วมมือ: ระหว่างประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): This study mapped the unmet supportive care needs in Thai cancer patients
and showed that patients with head and neck cancer and lung
cancer were strongly affected. A survivorship care plan focusing
on managing physical symptoms and providing supportive
and psychosocial care should be developed to meet the needs
of each cancer survivor group and to enhance QoL after the
completion of treatment.
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6696799/
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
ปัจจัยทำนายการให้บริการพยาบาลตามแผนบริการผู้รอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพในศูนย์มะเร็งระดับจังหวัด

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: ปัจจัยทำนายการให้บริการพยาบาลตามแผนบริการผู้รอดชีวิตของพยาบาลวิชาชีพในศูนย์มะเร็งระดับจังหวัด
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ และ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 
ที่มาและความสำคัญ: อุบัติการณ์โรคมะเร็งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกคิดเป็นจำานวนกว่าร้อยละ30 ของผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ทั่วโลกโดยคาดการณ์ว่าในอีกหนึ่งทศวรรษหน้าผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ในภูมิภาคนี้อาจจะเพิ่มสูงขึ้นเป็น ร้อยละ 41 หรือประมาณ 6.5 ล้านคนต่อปี แต่ขณะเดียวกันการรักษาโรคมะเร็งปัจจุบันพัฒนารุดหน้าไปมาก เป็นผลให้ในทศวรรษที่ผ่านมาอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่องคิดเป็นร้อยละ26 สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยจากทะเบียนผู้ป่วยระดับโรงพยาบาลสถาบันมะเร็งแห่งชาติพ.ศ.2557-2559รายงานจำนวนผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่เท่ากับ3,968ราย(ร้อยละ16.88),3,439ราย(ร้อยละ13.55), และ3,610ราย(ร้อยละ13.71)จากจำนวนผู้รับบริการทั้งหมดตามลำดับ3 ทั้งแนวโน้มอัตราผู้รอดชีวิตจากมะเร็งในประเทศไทยเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับสถานการณ์โลก
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: ศูนย์มะเร็งประจำจังหวัดแห่งหนึ่ง ในภาคกลางของประเทศไทย
วัตถุประสงค์: เพือศึกษาปัจจัยการให้บริการพยาบาลตามแผนบริการผู้รอดชีวิตจากมะเร็งของพยาบาลวิชาชีพ ในศูนย์มะเร็งระดับจังหวัดในภาคกลางประเทศไทย
แหล่งทุนสนับสนุน: University of Technology's ประเทศออสเตรเลีย, Hong Kong Polytechnic University สาธารณรัฐประชาชนจีน
หน่วยงานที่ร่วมมือ: University of Technology's ประเทศออสเตรเลีย, Hong Kong Polytechnic University สาธารณรัฐประชาชนจีน
ผู้มีส่วนได้เสีย: ศูนย์มะเร็งประจำจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย
ระดับความร่วมมือ: ระหว่างประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): ส่งเสริมให้พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการผู้รอดชีวิตจากมะเร็งรับรู้หน้าที่ และสร้างความมั่นใจในการให้การบริการพยาบาลตามแผนบริการผู้รอดชีวิตมะเร็งโดยให้มีการศึกษาเฉพาะทางมะเร็งเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มสมรรถนะทางการให้บริการผู้รอดชีวิตจากมะเร็งให้ดูแลได้อย่างครอบคลุมมีประสิทธิภาพต่อไป
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/159679
รูปภาพประกอบ:  -
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ -
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 
ที่มาและความสำคัญ: ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่เสริมพลังบวก และความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพนำไปสู่การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพและผู้รับบริการ
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิหรือทุติยภูมิหรือตติยภูมิ หรือพยาบาลมหาวิทยาลัยหรือโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยไม่
น้อยกว่า 1 ปี และ 3
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ:  
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร และมีความสัมพันธ์
ทางบวกกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/161611
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ และภาควิชาภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: การส่งเสริมสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกและเอื้อต่อการปฏิบัติงานของพยาบาล เป็นสิ่งสำคัญต่อสุขภาพของพยาบาลทั้งด้านร่างกาย  และจิตใจ  ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ความปลอดภัยของพยาบาล และผู้ป่วย การยอบรับการปฏิบัติงานตามสมรรถนะทางวิชาชีพ และให้อิสระเชิงวิชาชีพ การจ้างงานที่มั่นคง การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน สวัสดิการ ค่าตอบแทนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน การสื่อสารและสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ร่วมงานจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ของพยาบาล  เกิดการคงอยู่ในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพสูงขึ้น มีผลดีต่อคุณภาพชีวิตของพยาบาล ทำให้เกิดการทำงานที่ต่อเนื่อง 
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพของรัฐและเอกชนในประเทศไทย
วัตถุประสงค์: สำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ: สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผู้มีส่วนได้เสีย: สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): ส่งเสริมการสร้างลักษณะของสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานพลังบวกให้มีครบทุกองค์ประกอบในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานปฎิบัติการมีการดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามขอบเขตข้อบังคับของสภาการพยาบาล ยอมรับสมรรถนะเต็มศักยภาพในการปฏิบัติงานในวิชาชีพ และให้ความเป็นอิสระในการสมรรถนะในการประกอบวิชาชีพ ประเมินความพึงพอใจในการปฎิบัติงาน และประเมินผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานสม่ำเสมอ
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJN/issue/view/13260
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
สถานการณ์การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยจิตเวชสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: สถานการณ์การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยจิตเวชสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ เป็นสถาบันทางวิชาการด้านนิติจิตเวช ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีคดี และไม่มีคดี ที่ยุ่งยากซับซ้อนโดยให้การดูแลรักษาอย่างผสมผสานทั้งทางยา การรักษาด้วยไฟฟ้า จิตบำบัดและอื่นๆ ที่สามารถทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปสู่สังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดี  คณะผู้วิจัยในฐานะพยาบาลจิตเวชจึงต้องการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยจิตเวชโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่ได้รับรักษาด้วยไฟฟ้าให้ดีขึ้น 
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: ผู้ป่วยจิตเวชทั้งเพศชายและเพศหญิง ที่เข้ารับการรักษาด้วยไฟฟ้าแบบได้รับยาระงับความรู้สึกในสถาบันกัลยาณ์ราชณครินทร์ กรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ.   2558 ถึงพฤษภาคม พ.ศ.2559
วัตถุประสงค์: ศึกษาสถาณการณ์การรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยจิตเวช และศึกษาความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายต่ออาการข้างเคียง และภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยจิตเวช
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ: สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ผู้มีส่วนได้เสีย: สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพยาบาลเพื่อการลดอาการข้างเคียง และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีดัชนีมวลกายมากกว่าปกติ ผู้ป่วยที่ได้รับยา Clozapine และผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองด้วยการรักษาด้วยยา รวมทั้งนำไปพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชที่มีน้ำหนักเกิน หรือโรคอ้วนที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยใช้ยาระงับความรู้สึกเพื่อลด หรือป้องกันการเกิดอาการข้างเคียงและภาวะแทรกซ้อนต่อไป
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/164728
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
การป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: การป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: การพัฒนารูปแบบโดยการให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของวัยรุ่นเอง เป็นการปลดปล่อยวัยรุ่นออกจากสถานการณ์เดิมที่มีข้อจำกัด  ให้วัยรุ่นคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง นอกจากนี้การให้ภาคส่วนต่างๆ ที่เป็นสังคมของวัยรุ่น  ได้แก่  ครอบครัว  เพื่อนและครูมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย วางแผนและกำหนดกิจกรรมโดยอาศัยการสื่อสาร   อาจทำให้รูปแบบการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสอดคล้องกับวัยรุ่นและสังคมของวัยรุ่นมากขึ้น  ดังนั้นผู้วิจัยจึงพัฒนาโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในกลุ่มแกนนำ โดยคาดว่าจะเกิดรูปแบบที่เหมาะสมในการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียน โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ครู ผู้บริหาร เพื่อน และบุคลากรสุขภาพสามารถนำแนวทางไปใช้สำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของวัยรุ่นในโรงเรียนต่อไป
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: กลุ่มแกนนำในการพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  เขตการศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 จำนวน 1 โรงเรียน
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียนโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ รอบเอว ระดับน้ำตาล ไตรกลีเซอไรด์และคลอเลสเตอรอลของนักเรียนแกนนำก่อน และหลังเข้าร่วมโครงการที่ใช้รูปแบบการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรม
แหล่งทุนสนับสนุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติด้วยเงินงบประมาณแผ่นดินปี 2557 และจากมหาวิทยาลัยมหิดล 2557
หน่วยงานที่ร่วมมือ: โครงการวิจัย ระยะที่ 1 รูปแบบการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมของวัยรุ่น 
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัว เพื่อน และโรงเรียนช่วยให้วัยรุ่นมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรม และสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ นอกจากนี้ยังพบว่า การสื่อสารที่ชัดเจนและความร่วมมือของทุกภาคส่วนเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในวัยรุ่น
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/157644
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
คุณลักษณะของพยาบาลต่อความเชื่อด้านสุขภาพ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: คุณลักษณะของพยาบาลต่อความเชื่อด้านสุขภาพ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่อาศัยอยู่ในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ:  
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: The population were the in controlled hypertension elders
วัตถุประสงค์: This study aimed to examine nurses’ characteristics inducing health believes and adaptive health behaviors of hypertension elders within Thai urban communities
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ: คณะพยาบาลศาสตร์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): Process included relationship making, learning promoting, understanding, fact induced perception generating, concept generating, positive thinking, enthusiasm, self-confidence promoting, and living wisdom implementing by nurses. The outputs of sample health believes and adaptive health management were controllable level of blood pressure, steady capable to control blood pressure, and self-confide continually in health management.
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nursingsiamjournal/article/view/145923
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
ผลของการใช้แบบบันทึกกระบวนการพยาบาล สำหรับการศึกษาภาคปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: ผลของการใช้แบบบันทึกกระบวนการพยาบาล สำหรับการศึกษาภาคปฏิบัติในการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์  มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย  เป็นแหล่งการเรียนรู้  มุ่งหวังผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและประเทศชาติ ดังคำกล่าวว่า “บัณฑิตมหิดลมุ่งประโยชน์สุข เพื่อมวลมนุษยชาติ” ดังนั้นจึงมีการกำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ สอดคล้องกับบริบทของสังคมปัจจุบัน ให้ “เป็นคนดี มีปัญญา นำพาสุข”1มหาวิทยาลัยมหิดลได้นำไปใช้ โดยมุ่งพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะบัณฑิตดังกล่าวผ่านการจัดการเรียนการสอน
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต  ชั้นปีที่  3  ที่ขึ้นฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินอาหาร สัปดาห์แรกของการฝึกปฏิบัติ 
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการใช้แบบบันทึกกระบวนการพยาบาลสำหรับการศึกษาภาคปฏิบัติ ในการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
แหล่งทุนสนับสนุน: ทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
หน่วยงานที่ร่วมมือ:  
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ:  
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): แบบบันทึกกระบวนการพยาบาลและคู่มือที่สร้างขึ้นสามารถช่วยนักศึกษาให้มีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามมหาวิทยาลัยมหิดลกำหนด อย่างไรก็ดี ควรปรับปรุงแบบบันทึกกระบวนการพยาบาลให้สามารถพัฒนาคุณลักษณะ “มีปัญญา” และ “นำพาสุข” ให้โดดเด่นเช่นเดียวกับการ “เป็นคนดี”
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/176808
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
Indicator: 3.c เพิ่มการใช้เงินที่เกี่ยวกับสุขภาพ และการสรรหา การพัฒนา การฝึกฝน และการเก็บรักษากำลังคนด้านสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนาน้อยที่สุดและรัฐกำลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็ก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่เสริมพลังบวก และความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพนำไปสู่การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพและผู้รับบริการ
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: เป็นการศึกษาแบบบรรยายเชิงความสัมพันธ์ในพยาบาลวิชาชีพ ที่ขึ้นทะเบียนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง และมีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 2,340 ราย 
วัตถุประสงค์: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ:  
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ:  
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร และมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
http://www.smj.ejnal.com/e-journal/pastissues/?show_issue=T&max_id_no=352
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
ผลของโปรแกรมการสอนเพื่อการเรียนรู้ การกระตุ้น การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้านต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: ผลของโปรแกรมการสอนเพื่อการเรียนรู้ การกระตุ้น การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้านต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: หลอดเลือดหัวใจโคโรนารีมีความสํา คัญต่อการมีชีวิตอยู่ เนื่องจากเป็นหลอดเลือดเพียงกลุ่มเดียวที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก 
วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสอนเพื่อการเรียนรู้ การกระตุ้น การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้าน (Learning-Activated-Tele-phone-Home Visiting: LATH) ต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนา
แหล่งทุนสนับสนุน: ทุนสนับสนุนเงินวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 
หน่วยงานที่ร่วมมือ:  
ผู้มีส่วนได้เสีย:  
ระดับความร่วมมือ:  
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): โปรแกรมการสอนเพื่อการเรียนรู้ การกระตุ้น การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้าน (LATH)  มีประสิทธิภาพทํา ให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีเพิ่มสูงขึ้น จึงมีข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งสถานศึกษาและโรงพยาบาลสามารถนํา โปรแกรมนี้ไปใช้สอนและใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดโคโรนารีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้สูงขึ้น
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/journalthaicvtnurse/article/view/200449
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  
ระบบการคัดกรองและป้องกันมะเร็งเต้านมในประเทศไทย ในทัศนะของผู้ให้บริการ

หัวข้อ รายละเอียด  
ชื่องานวิจัย: ระบบการคัดกรองและป้องกันมะเร็งเต้านมในประเทศไทย ในทัศนะของผู้ให้บริการ
Indicator: 3.d เสริมขีดความสามารถสำหรับทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำลังพัฒนา ในเรื่องการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพในระดับประเทศและระดับโลก
คณะ/สาขาวิชา: ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ และภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่มาและความสำคัญ: มะเร็งเต้านมเป็ นปัญหาสาธารณสุขสําคัญของสตรีในภูมิภาคเอเชียและประเทศไทย โดยผู้ ป่วยส่วนใหญ่มักมาพบแพทย์เมื่ออยู่ในระยะลุกลามของโรค
ขอบเขต/พื้นที่ศึกษา: ผู้วิจัยดําเนินการเก็บข้อมูลโดยสืบค้นจากฐานข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ทีเกี่ยวข้อง เช่น ฐานข้อมูลสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุขสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น 
วัตถุประสงค์: การศึกษาครังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การจัดระบบบริการสุขภาพ
ในการป้องกันและคัดกรองมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกในประเทศไทยในมุมมองของบุคลากรผู้ให้บริการ
แหล่งทุนสนับสนุน:  
หน่วยงานที่ร่วมมือ: Cancer Hospital Wattanosoth
ผู้มีส่วนได้เสีย: Cancer Hospital Wattanosoth
ระดับความร่วมมือ: ภายในประเทศ
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ(ระบุวันที่ การนำไปใช้): หน่วยงานของรัฐที่เกียวข้องควรรณรงค์อย่างต่อเนือง
ให้สตรีสนใจการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมระยะเริมแรก ควรปรับปรุงด้านการประชาสัมพันธ์/สือและคุณภาพการบริการ การคัดกรองมะเร็งเต้านมให้ครอบคลุมทุกพืนทีและเข้าถึงสตรีกลุ่มเป้าหมายได้โดยตรงรวมถึงผลักดันให้เกิดกฎหมาย
โรคมะเร็งแห่งชาติ ซึ่งจะช่วยขับเคลือนไปสู่การกําหนดมาตรการและการดําเนินงานเกียวกับการป้ องกันควบคุมมะเร็งเต้านมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน 
Web link
อ้างอิงการดำเนินงาน:
http://www.nci.go.th/th/Journal/index1.html
รูปภาพประกอบ:  
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ  

 

Activity / Programme

โครงการเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เนื่องในวันพยาบาลสากล ประจำปี 2562

Read More

กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ Nursing for Health เนื่องในวันพยาบาลแห่งชาติ

Read More
.

สร้างเสริมสุขภาพสามเณรวัดไผ่ดำ จังหวัดสิงห์บุรี

Read More

พัฒนาระบบและกลไกเพื่อสุขภาวะเด็กปฐมวัย: ภาคกลางและตะวันตก

Read More

กิจกรรม ค่ายวิศวะ-พยาบาลพัฒนาชนบทครั้งที่ 28

Read More

การสร้างเสริมสุขภาวะแก่สังคม : ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Read More

หลักสูตรการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ


Read More

การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในแรงงานข้ามชาติแบบบูรณาการ การบริการวิชาการ วิจัย และการเรียนการสอน

Read More

การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การป้องกันอุบัติเหตุในทารกและเด็กก่อนวัยเรียน”

Read More

Conference / Meeting

การประชุมวิชาการคณะพยาบาลศาสตร์ ครั้งที่ 28 เรื่อง “สูงวัยไม่พึ่งพา คืนคุณค่าสู่สังคม”

Read More

 

 

 

Other Websites

  • Faculty of Nursing
  • Mahidol University

Other Websites

  • NS Green

Social Media

Contact Us

Office Building Bangkoknoi:
Pra Sri Patcharin Building

2 Wang Lang Road, Siriraj, Bangkoknoi, Bangkok 10700 Thailand.
Tel : 662-419-7466-80
Fax: 662-412-8415

 

Office Building Salaya:
Mahidol Adulyadej-Prasrinakarin Building

999 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Nakhon Pathom 73170 Thailand.
Tel: 662-441-5333,
662-441-5275-81

Copyright © 2024 -Faculty of Nursing, Mahidol University. All rights reserved.  Webmaster: nswww@mahidol.ac.th