เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย
Research
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (1) |
Thai nurses’ perceptions and practices of family-centered care: The implementation gap |
Indicator |
3.d เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
While Thai nurses have positive attitudes towards family-centered care and support integrating this philosophy of care into their practice, there is a gap between their support of family-centered care and what actually occurs in practice. Only two Thai studies reported that nurses in tertiary-care hospitals highly perceived the importance of family-centered care but did not implement this philosophy of care into their daily nursing practice to the extent of their perception. It is anticipated that this “implementation gap” in family-centered care is significant, and the results of these two studies reinforce our claim. However, the findings of these studies, which were collected only from a self-administered questionnaire, could not provide an in-depth understanding of why certain elements of family-centered care were perceived as less important in nurses’ views and thus were less likely to be incorporated into nursing practice. For this reason, an investigation of pediatric nurses’ perceptions and practice of family-centered care using both quantitative and qualitative methods can help nurses and other healthcare professionals better understand the current phenomenon of family-centered care practice in a Thai healthcare setting. In addition, this data can also serve to support the development of system-wide educational and environmental support to enable improved implementation. Thus, the aim of the current study was to address the following research questions: (1) What are the differences between Thai pediatric nurses’ perceptions of the necessity of family-centered care and their current practices? And (2) Why do any of these identified differences continue to exist? |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A university hospital in Bangkok, Thailand |
วัตถุประสงค์ |
This study was conducted to examine the differences between perceptions and practices of family-centered care among Thai pediatric nurses. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Department of Nursing Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Nurses from a university hospital in Bangkok, Thailand |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
Nurses agreed that the identified elements of family-centered care were necessary but that they did not incorporate the concepts into their daily nursing practice to maintain their endorsement of the family-centered care model. Further study is needed to explore how family-centered care is understood and operationalized by Thai nurses and how hospital administration and environments can be modified to support this care model. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S2352013219303114 |
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (2) |
Factors influencing alcohol use among Myanmar young migrant workers in Thailand |
Indicator |
3.5 เสริมสร้างการป้องกันและการรักษาการใช้สารในทางที่ผิด ซึ่งรวมถึงการใช้ยาเสพติดในทางที่ผิดและการใช้แอลกอฮอล์ในทางอันตราย |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Young migrant workers depict both vulnerability and resilience toward negative health outcomes. A deeper understanding of their needs provides healthcare providers the opportunities to help increase their positive health and well-being. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A coastal province near Bangkok |
วัตถุประสงค์ |
This cross-sectional study examined alcohol use in documented young Myanmar migrants working in Thailand and the factors associated with alcohol consumption. Cooper’s Four-factor Model of Drinking Motives and the Transactional Model of Stress and Coping were used as guiding frameworks. The participants were 186 young migrant workers from migrant communities in a coastal province near Bangkok, Thailand. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Institute for Population and Social Research and Faculty of Public Health, Mahidol University, Thailand |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Provincial Public Health Officer |
ระดับความร่วมมือ |
International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This findings add further evidence that the significant differences across studies regarding migrants working in Thailand arise from differences in age, types of work, region in Thailand, registration status, length of stay, peer and community supports. As such, public health policies and programs and health services provided by community nurses related to alcohol use need to be tailored to specific regions within the country and to specific populations of migrant workers based on information from local empirical studies. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/PRIJNR/article/view/159647 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (3) |
Anxiety and suicidal thoughts during the covid-19 pandemic: cross-country comparative study among Indonesian, Taiwanese, and Thai university students |
Indicator |
3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
This study examined university students’ psychological responses toward COVID-19 for the following reasons. First, the COVID-19 pandemic has become a major life stressor that has direct and indirect influences on students’ psychological well-being. The direct influences include the students’ emotional feelings toward COVID-19 (eg, fear of being infected), and the indirect influences include the government’s reaction in relation to transmission control (eg, feeling depressed when receiving threatening COVID-19 news or feeling lonely because of social distancing) [7]. Second, university students are at a critical life-transition period (ie, school-to-work transition). Most of them are expected to begin their careers after graduation by applying the skills they have learned at the university. However, the COVID-19 pandemic may interfere with their plans and, subsequently, affect their future careers. Therefore, university students need support in maintaining good mental health conditions in order to deal with the COVID-19 pandemic, as well as avoid any negative consequences later in life. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
5 public universities (2 in Indonesia, 1 in Thailand, and 1 in Taiwan) |
วัตถุประสงค์ |
This study examined the psychological responses toward COVID-19 among university students from 3 countries - Indonesia, Taiwan, and Thailand |
แหล่งทุนสนับสนุน |
National Cheng Kung University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Institute of Allied Health Sciences, National Cheng Kung University Hospital, College of Medicine, National Cheng Kung University, University Road, Tainan, Taiwan |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Nursing Lecturers |
ระดับความร่วมมือ |
Multi-International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This findings suggest that health care providers in Thailand may need to pay special attention to Thai university students given that high levels of anxiety were observed in this study population. In addition, health care providers should establish a good support system for university students, as the results of this study indicate a negative association between support and suicidal thoughts. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
|
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (4) |
Mediating role of mindfulness, self-efficacy, and resilience on the stress–psychological well-being in Thai adolescents |
Indicator |
3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Stress among adolescents has been documented as a global problem, affecting adolescents’ health and well-being. Adolescents who had high level of stress may discontinue their study, leading to a more serious problem such as anxiety and depression, which a major cause of death. This situation may affect their psychological well-being which is an important element for a positive adolescence development. Thus, preventing mental health problems and promote psychological well-being among adolescents is an urgent issue. Numerous studies examined the relationships among stress and health outcome; nevertheless, a mechanism of mindfulness, self-efficacy, and resilience on the stress–psychological well-being has not been extensively tested in Thai adolescents. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
Schools in Bangkok and Nakonprathom provinces |
วัตถุประสงค์ |
This study aimed to examine the mediating role of mindfulness, self-efficacy, and resilience in the relationship of stress to psychological well-being among adolescents in Thailand. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
National University of Singapore, Singapore (NUS) |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Thai Lecturer in School |
ระดับความร่วมมือ |
International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
The results also enhanced understanding of how to develop and target psychological interventions to promote psychological well-being, and optimize mental health among Thai adolescents. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
|
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (5) |
Maternal and health service predictors of postpartum hemorrhage across 14 district, general and regional hospitals in Thailand |
Indicator |
3.1 ลดอัตราการตายของมารดาทั่วโลกให้ต่ำกว่า 70 ต่อการเกิดมีชีพ 1 แสนคน ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Postpartum hemorrhage (PPH) is a preventable complication, however, it remains being the leading cause of maternal mortality and morbidity worldwide including Thailand. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
14 hospitals under the Ministry of Public Health (MOPH), Thailand |
วัตถุประสงค์ |
The objective of this study was to examine the risk factors associated with PPH across the district, general, and regional hospitals under the Ministry of Public Health, Thailand. With previous research studies focused on maternal risk factors associated with PPH, however, there is still limited research available on the associated risk factors of PPH regarding maternal factors and health service factors. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Faculty of Public Health, Mahidol University, Thailand |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Nurses from Hospitals under the Ministry of Public Health (MOPH), Thailand |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This study provides interesting information that the rate of PPH varies across the hospitals in Thailand, in particular where essential nurse midwives, equipment, and supplies are limited. Therefore, improving health care services by allocating sufficient human and physical resources would contribute to significantly reduce this complication. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://bmcpregnancychildbirth.biomedcentral.com/articles/10.1186/s12884-020-2846-x |
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (6) |
The influence of inhaler technique, exacerbation, age, and barrier to receiving care on adherence to inhaled medications in patients with COPD |
Indicator |
3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
สำหรับประเทศไทยผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ต้องเสียค่ารักษาและเข้าถึงการรักษาได้ง่ายกว่า แตกต่างจากในหลายประเทศ สําาหรับการศึกษาเทคนิคการใช้ยาชนิดสูด ในเมืองไทยยังไม่พบการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเทคนิคการใช้ยาสูด อายุ อุปสรรคในการรับการดูแล และความร่วมมือในการใช้ยาสูดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง การเกิดอาการกํา าเริบกับความร่วมมือในการใช้ยาสูด การวิจัยและการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ผลการศึกษาดังกล่าวไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาอิทธิพลของปัจจัยดังกล่าวต่อความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผลที่ได้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมความร่วมมือในการใช้ยาต่อไป |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A tertiary hospital in Bangkok |
วัตถุประสงค์ |
This study aimed to examine the influence of Inhaler technique, exacerbation, age, and barrier to receiving care on adherence to inhaled medications in patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). |
แหล่งทุนสนับสนุน |
China Medical Board of New York, Inc., Faculty of Nursing, Mahidol University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital and Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Nurse from tertiary hospital |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This findings suggest that health care providers in Thailand may need to pay special attention to Thai university students given that high levels of anxiety were observed in this study population. In addition, health care providers should establish a good support system for university students, as the results of this study indicate a negative association between support and suicidal thoughts. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/241059 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (7) |
A Study of critical task interruptions among circulating nurses in a university hospital |
Indicator |
3.d เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
การถูกขัดจังหวะขณะปฏิบัติงานในห้องผ่าตัด พบว่ายังคงมีอุบัติการณ์เกิดขึ้นเสมอ โดยการขัดจังหวะขณะปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดสามารถทําาให้เกิดความผิดพลาดและความไม่ปลอดภัยต่อผู้ป่วยได้ เช่น การถูกขัดจังหวะขณะปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดเป็นปัจจัยหนึ่งในการก่อให้เกิดการคงค้างของอุปกรณ์การแพทย์ในร่างกาย นอกจากนี้การถูกขัดจังหวะขณะปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้ถูกขัดจังหวะได้ เช่น บุคคลนั้นจะมีความพึงพอใจในประสิทธิผลการทําางานของตนเองที่ลดลงหงุดหงิด เหนื่อยล้า เครียด ทําาให้ความจําาสูญเสียไปชั่วขณะ3-4 ในปีค.ศ.2003 Agency for HealthcareResearch and Quality (AHRQ) ได้รายงานว่า การลดจําานวนการถูกขัดจังหวะ สามารถที่จะลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดกับผู้ป่วยได้5 หลายสาขาวิชาชีพได้เริ่มต้นที่จะสนใจศึกษาผลกระทบของการถูกขัดจังหวะมากขึ้น |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A university hospital in Thailand |
วัตถุประสงค์ |
The purposes of this study were to identify frequency and sources of interruptions in the operating room, and to compare average of interruption occurrence in each level of the interruption effects among different types of surgery and different years of working experience. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
China Medical Board of New York, Inc., Faculty of Nursing, Mahidol University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Faculty of Siriraj Medicine, Mahidol University, Thailand |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Faculty of Siriraj Medicine, Mahidol University, Thailand |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This study shows high interruptions during critical tasks in operating rooms. This study provides evidence of the need of developing guidelines/work instruction to minimize unnecessary interruptions during critical task procedures in operating rooms. Moreover, education and training for circulating nurses in operating rooms regarding handles interruptions in the safety manner are also needed. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/242642 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (8) |
Experiences of antenatal care attendance and health information seeking among working pregnant women in the large industry plants: descriptive qualitative study |
Indicator |
3.1 ลดอัตราการตายของมารดาทั่วโลกให้ต่ำกว่า 70 ต่อการเกิดมีชีพ 1 แสนคน ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
การฝากครรภ์นับเป็นกุญแจสําาคัญของการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีของสตรีตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์รวมทั้งป้องกันปัญหาในระยะหลังคลอด จากนิยามขององค์การอนามัยโลก การฝากครรภ์ คือการดูแลในช่วงก่อนคลอด อันประกอบด้วยการส่งเสริมสุขภาพ การให้ความรู้และคําาปรึกษาแก่หญิงตั้งครรภ์ การตรวจคัดกรอง และการให้การรักษาในขณะตั้งครรภ์ นอกจากนี้ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ได้กําาหนดคําานิยามของการฝากครรภ์คุณภาพ คือ สตรีตั้งครรภ์ปกติที่ไม่มีความเสี่ยงจะต้องผ่านการคัดกรองและประเมินความเสี่ยง พร้อมทั้งได้รับความรู้ตามมาตรฐานโรงเรียนพ่อแม่ ซักประวัติตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้รับวิตามินตามสิทธิประโยชน์ ฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ตามนัดจําานวนอย่างน้อย 5 ครั้งกรณีที่ไม่มีความเสี่ยง ทั้งนี้จากสถิติของสําานักอนามัยเจริญพันธุ์กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2563 พบว่าในพื้นที่เขตสุขภาพที่ประกอบด้วยแหล่งของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของประเทศ สตรีตั้งครรภ์ไปฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 84.3 และรับการฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ77.33 ซึ่งเป็นจําานวนต่ำที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับเขตสุขภาพอื่นของประเทศ จากสถานการณ์ดังกล่าวสะท้อนความจําาเป็นในการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ในประชากรกลุ่มนี้ |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
Twenty-one working pregnant women in the large industry, Thailand |
วัตถุประสงค์ |
To explore experiences of antenatal care attendance and health information seeking among working pregnancy in the large industry. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
China Medical Board of New York, Inc., Faculty of Nursing, Mahidol University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Thai health care providers |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
Health care providers should promote pregnancy care with comprehensive dimensions, which recognized the working context. In addition, social support should provide all types of informational, emotional, tangible, and appraisal support for endorsing pregnancy care quality. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/244959 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ |
รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (9) |
Hematological Cancer Patients’ Perceptions of Facilitators and Barriers to Their Participation in Symptom Management during Hospitalization |
Indicator |
3.4 ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อให้ลดลงหนึ่งในสาม ผ่านทางการป้องกันและการรักษาโรค และสนับสนุนสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดี ภายในปี 2573 |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
ผู้ป่วยมะเร็งโลหิตเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งที่มีจําานวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน จัดอยู่ใน 10 อันดับแรกของโรคมะเร็งที่พบมากในคนไทย เป็นโรคที่คุกคามต่อชีวิตมีกระบวนการรักษาที่ซับซ้อนตั้งแต่ระยะแรก ของการวินิจฉัยและระยะของการรักษาที่ต่อเนื่อง ผลข้างเคียงของการรักษาด้วยยาเคมีบําาบัดที่มีมากกว่ามะเร็งระบบอื่นๆ ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลค่อนข้างนาน ผู้ป่วยต้องทุกข์ทรมานกับโรค อาการและผลข้างเคียงของการรักษาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่เกิดขึ้นตลอดระยะของการรักษา การศึกษาที่ผ่านมาชี้ให้เห็นว่าการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยเป็นเครื่องชี้วัด ที่แสดงถึงคุณภาพของระบบบริการสุขภาพ องค์การอนามัยโลก (World HealthOrganization: WHO) จึงให้ความสําาคัญกับการส่งเสริมให้ผู้ป่วย และญาติได้มีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการดูแลและการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษามากขึ้น เนื่องจากการมีส่วนร่วมในการดูแลของผู้ป่วยและญาติมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการดูแลที่ดี ส่งผลให้อัตราการตายการติดเชื้อ การกลับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล จําานวนวันของการนอนโรงพยาบาลลดลงอย่างมีนัยสําคัญ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มความปลอดภัยของการใช้ยาในผู้ป่วย และผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
Oncology units of one tertiary care university hospital in Bangkok, Thailand. |
วัตถุประสงค์ |
To explore hematological cancer patients’ perceptions of the facilitators of and barriers to their participation in symptom management during hospitalization. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
Centre for Quality and Patient Safety Research, Deakin University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Centre for Quality and Patient Safety Research, Deakin University |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Nurses from oncology units of one tertiary care university hospital in Bangkok, Thailand. |
ระดับความร่วมมือ |
International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This research findings create an understanding of patients’ perceptions of facilitators of and barriers to their participation in symptom management during hospitalization. It will benefit healthcare professionals, especially physicians and nurses, as it leads to the enhancement of the facilitators and the elimination of the barriers in promoting patient participation. Understanding patient perceptions of facilitators of and barriers to participating in symptom management may lead to improving patients’ safety, quality patient symptom outcomes, and quality of care. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/244605 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
Activity / Programme
โครงการ การพัฒนาศักยภาพแกนนำแรงงานข้ามชาติ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในกลุ่มประชากรแรงงานข้ามชาติ แบบบูรณาการบริการวิชาการ และวิจัย
Read Moreโครงการ การสร้างเสริมสุขภาวะสามเณรโรงเรียนวัดกฤษณเวฬุพุทธาราม (วัดไผ่ดำ) จังหวัดสิงห์บุรี ประจำปี 2563
Read Moreโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เปิดบริการแก่สมาชิกผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด: วิถีชีวิตปกติใหม่... ห่วงใยสุขภาพ
Read Moreเปิดกิจกรรม "นำความรู้สู่ชุมชน สร้างสรรค์เยาวชนไทยใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลบุหรี่ เหล้า ยาเสพติด เพศสัมพันธ์ก่อนวัย ปีที่ 12"
Read Moreสัมภาษณ์รายการสดช่อง Thai PBS ช่วงรู้เท่ารู้ทัน ในประเด็น "การคลอดแบบฉุกเฉินต้องทำอย่างไร"
Read Moreครูเพศวิถีพันธุ์ใหม่สำหรับวัยรุ่น Disruptive Teacher and Sexuality Education for Adolescence
ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจ กับการควบคุมตนเองในการลดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของประชาชนวัยแรงงานในชุมชน
Conference / Meeting
ประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง N-nergizing Nursing Profession for NCD Challenges (N3 Nursing Conference)
Read More
Copyright © 2024 -Faculty of Nursing, Mahidol University. All rights reserved. Webmaster: nswww@mahidol.ac.th