กำหนดการ

วันจันทร์ที่ 9 มกราคม 2566
07.00-08.45 น. ลงทะเบียน
8.45-9.00 น. พิธีเปิดการประชุม

โดย ศาสตราจารย์ นพ. บรรจง มไหสวริยะ
       อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

       

09.00-10.00 น. นโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการบริการสุขภาพครบวงจรของ โลก (Global Healthcare and Wellness Hub)

โดย ทันตแพทย์อาคม ประดิษฐสุวรรณ
       รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

       

10.00-11.00 น. ระบบบริการสุขภาพเพื่อขับเคลื่อนการมีสุขภาพจิตดีในยุคชีวิตวิถีถัดไป

โดย แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์
       อธิบดีกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

       

11.00-12.00 น. Digital Innovation เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นยุค
ชีวิตวิถีถัดไป

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พวงเพชร เกษรสมุทร
       รองศาสตราจารย์ ดร. นพพร ว่องสิริมาศ
       ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
       คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

       

12.00-13.00 น. พักเที่ยง
13.00-14.00 น. Digital Innovation เพื่อสร้างสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ยุคชีวิตวิถีถัดไป

โดย พว.สุทิศา ปิติญาณ
       พยาบาลชำนาญการพิเศษ งานการพยาบาลอายุรศาสตร์และจิตเวชศาสตร์
       ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

14.00-16.00 น. Symposium ห้องที่ 1: การวิเคราะห์ผลงานวิจัยด้านสุขภาพจิตและปัญหาสุขภาพจิตในประเทศไทย ในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ (14.00-15.00 น.)

โดย  รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
       รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์
       รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
       ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร. ฐิติพงษ์ ตันคำปวน
       อาจารย์ สืบสาน รักสกุลพิวัฒน์     
   

       คณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล

       

สรุปประเด็นทิศทางและแนวโน้มการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และงานวิจัยด้านสุขภาพจิตและปัญหาสุขภาพจิต ที่ตอบโจทย์การวิจัยของประเทศ
(15.00-16.00 น.)

โดย  ศาสตราจารย์ ดร.นพ. ภัทรชัย กีรติสิน
       
รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินการอภิปราย โดย อาจารย์ณัฏยา ประหา
       ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
       คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

       

14.00-16.00 น. Symposium ห้อง 2: การวิเคราะห์ผลงานวิจัยด้านสุขภาพจิตและปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กและวัยรุ่น สุขภาพจิตสตรี สุขภาพจิตครอบครัวเปราะบางในชุมชน (14.00-15.00 น.)

โดย  รองศาสตราจารย์ ดร.สมสิริ รุ่งอมรรัตน์
       รองศาสตราจารย์ ดร. วารีรัตน์ ถาน้อย
       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วไลลักษณ์ พุ่มพวง
       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธารา น่วมภา
       รองศาสตราจารย์ ดร. ปิยะธิดา นาคะเกษียร

       คณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล 

       

สรุปประเด็นทิศทางและแนวโน้มการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและงานวิจัยด้านสุขภาพจิต และปัญหาสุขภาพจิตที่ตอบโจทย์การวิจัยของประเทศ
(15.00-16.00 น.)

โดย  ศาสตราจารย์ ดร. ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
       
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผู้ดำเนินการอภิปราย โดย อาจารย์ ดร.รุ่งนภา รู้ชอบ
       ภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
       คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

       

 
วันอังคารที่ 10 มกราคม 2566
08.30-09.00 น. สรุปภาพรวมการประชุมวิชาการในวันแรก

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธารา น่วมภา
       คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

       

09.00-10.30 น. Mental Health and Wellness: พลังขับเคลื่อนของพยาบาลไทย

โดย ดร.เรืองรอง องค์พัฒนกิจ
       โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
       นางเสาวภา จงกิตติพงศ์
       นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ด้านคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพ
       กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

       

10.30-12.00 น. Flash Presentation หัวข้อ: นวัตกรรม/วิจัย/โครงการ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิต

โดย นักศึกษาปริญญาตรี

       

 

Flash Presentation หัวข้อ: นวัตกรรม/วิจัย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิต

โดย พท.หญิง ดร.อริสรา อยู่รุ่ง
       พว. สรรสณีย์ รัตนมนตรี
       พว.เปรมิกา ทองยศ
       นักศึกษาบัณฑิตศึกษา

       

12.00-13.00 น. พักเที่ยง
13.00-15.00 น. เสวนา: ทิศทางการศึกษา การวิจัย และการบริการพยาบาลเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ Global Healthcare and Wellness Hub

โดย  รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ
       นายกสภาการพยาบาล
       รองศาสตราจารย์ ดร. ยาใจ สิทธิมงคล

       คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
       พว.ชไมพร เจริญไกรกมล
       หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

ดำเนินการอภิปรายโดย รองศาสตราจารย์ ดร. อรวมน ศรียุกตศุทธ
       ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
       คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

       

15.00-15.15 น. พิธีปิด

*** Password สำหรับการรับชมวิดีโอ ทางผู้จัดได้แจ้งทาง e-mail ของผู้เข้าร่วมการประชุมทุกท่าน