เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย
Research
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (1) |
Relationship among the knowledge, attitudes, and practice of executive functions of teachers in childcare centers in Thailand |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Somsiri Rungamornrat, Apawan Nookong, Yuwadee Pongsaranuntakul, Arunrat Srichantaranit, Laddawan Subchareonmak |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Executive functions (EF) refer to a set of cognitive abilities that humans utilize to learn,work, and manage everyday life activities to achieve goals. The control and regulation ofthese mental skills are essential for a human’s development and proper functioning in society. At the same time, trouble with the EF can lead to learning, emotional, and behavioral complications (Diamon, 2013). EF development is especially important in early childhood to aid a child’s learning as well as social and emotional development. In Thailand, EF is a relatively new area of study that has begun to acquire attention in the last five years. The importance of EFs in the brain’s functioning is becoming more well understood, and it is becoming clear that improving EF skills in children can help their brains become more competent. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A university hospital in Bangkok, Thailand |
วัตถุประสงค์ |
This study aims to investigate the relationship among knowledge, attitudes, and practicing of teachers’ executive functions (EF) in childcare centers. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
Thai Health Promotion Foundation |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Thai Childcare Centers |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This study suggested that further knowledge should be provided in simple strategies that encourage a positive attitude towards exercising EF in children and allow teachers to plan EF activities in childcare centers on a daily basis. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
|
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (2) |
รูปแบบการพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนแห่งหนึ่งสังกัดกรุงเทพมหานคร |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Yuwadee Pongsaranuntakul, Somsiri Rungamornarat, Apawan Nookong, Laddawan Supchareonmak |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
สถานการณ์ประเทศไทยปัจจุบันพบเด็กปฐมวัยจำนวนมากขาดการดูแลและการส่งเสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม ประกอบกับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคมได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทางสังคมไทย โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากที่สุดในประเทศ มีจำนวนประชากรเด็กอายุ 0-5 ปี มากที่สุดถึง 276,256 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ของเด็กอายุช่วงวัยเดียวกันของทั้งประเทศ |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนแห่งหนึ่งสังกัดกรุงเทพมหานคร |
วัตถุประสงค์ |
Purposive sampling was used to recruit twelve persons including caregivers, parents, a community head, healthcare personnel and district officers |
แหล่งทุนสนับสนุน |
Thai Health Promotion Foundation |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Thai Childcare Centers |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
Quality improvement rooted in the first 3 steps of participatory actions in self-assessment, empowerment for change, and revision for better results are essential stages for related persons to get ready for uplifting the quality of the center to achieve the sustainable standards. Healthcare personnel can be a part of the participatory development process resulting in the quality child care centers where preschool children receive a good care and have age-appropriate growth and development. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/248975 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (3) |
Survey of knowledge and opinion among Thai veterinarians on nicotine toxicity and second-hand smoke effects on pets’ health+ |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Pongsri Srimoragot, Pratuang Sudsakorn, Phornchai Suwannaphirom, Kanin Ruchisereekul |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
There may be lack of knowledge in nicotine toxicity and second-hand smoke (SHS) effects, as well as the opinion of pets’ care among Thai veterinarians (vets) |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
vets from the small animal hospitals of Chiang Mai University, Chulalongkorn University, Kasetsart University, Khonkaen University, Mahanakorn University of Technology, and Mahidol University; and 2) vets from private small animal hospitals and clinics |
วัตถุประสงค์ |
To examine knowledge, opinion of nicotine toxicity and SHS effects on dogs and cats’ health in Thai vets. A cross-sectional survey was applied. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
The Thai Veterinary Medical Association, Veterinary Council of Thailand Committee, |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Small Animal Hospitals |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
This suggestion should be provided regardless of the types of a cigarette (hand-rolled, factory-made, electronic, or any new forms of cigarettes) to protect their pets from SHS exposure since all types of cigarettes contain nicotine as the primary chemical. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/tjvm/article/view/247433 |
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (4) |
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมผ่านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพผสานการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย: กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Weha Kasemsuk, Saovaros Meekusol, Surussavadee Waiwong, Nongnuch Petchroung |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจํานวนผู้สูงอายุมากเป็นอันดับ 30 ของประเทศ และยังคงมีผู้สูงอายุที่ทํางานอยู่มากถึงร้อยละ 29.5 ผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าวมีทั้งกลุ่มที่สุขภาพดี กลุ่มที่เป็นโรคเรื้อรัง ติดบ้าน ติดเตียง และอยู่กับครอบครัวที่ยากจน ซึ่งต้องได้รับการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพ ส่วนด้านการท่องเที่ยวนั้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีนโยบายพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและพัฒนาศักยภาพมัคคุเทศก์นําเที่ยวของจังหวัด |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
Ayutthaya province |
วัตถุประสงค์ |
This qualitative research aims to study and find out the guideline for promote health of the older adults through participatory health tourism combined with cultural tourism and Thai wisdom. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Older adult in Ayutthaya province |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
As a result, the elderly can take care of themselves and perform various activities more efficiently. In addition, it also creates strength in both physical and mental health and helps the elderly to be involved with the community and society, be secure, have sufficient income to live, able to maintain the function of various organs, and live independently of their own potential. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/247251 |
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (5) |
Evaluating the relationships among stress, resilience and psychological well-being among young adults: a structural equation modelling approach. |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Piyanee Klainin-Yobas, Nopporn Vongsirimas, Debbie Q. Ramirez, Jenneth Sarmiento & Zenaida Fernandez |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Resilience reflects individuals’ ability to bounce back quickly in the face of stressful situations. Resilience is positively correlated with psychological well-being (PWB) and negatively related to poor mental health. However, there is limited longitudinal research to confirm the causal relationships between resilience and PWB. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
undergraduate students at a private university in the Philippines |
วัตถุประสงค์ |
This study aimed to examine the relationships among stress, resilience, and PWB among youths in the Philippines across two samples. A descriptive comparative study was conducted and two repeated cross-sectional samples were recruited. Eligible participants were undergraduate students from a university in the Philippines regardless of sociological backgrounds |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Alice Lee Centre for Nursing Studies, National University of Singapore |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Teacher & Students at private university in the Philippines |
ระดับความร่วมมือ |
International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
There is a need to offer stress management interventions and resilience-based programs to enhance PWB. Additional research should be conducted to test the efficacy of the interventions. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://bmcnurs.biomedcentral.com/articles/10.1186/s12912-021-00645-9 |
รูปภาพประกอบ |
- |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (6) |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพใจโดยใช้สติต่อสุขภาวะทางจิตใจ ของนักเรียนประถมศึกษา |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Walailak Pumpuang, Sathaka Pimroon, Sudarat Pianchob, Supapak Petasuwan, Thineerat Thavorn |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
เด็กนักเรียนวัยรุ่นมองเห็นประโยชน์ของการพัฒนาทางด้านจิตใจและมีความต้องการที่จะให้มีกิจกรรมการฝึกสติในโรงเรียน ดังนั้นการส่งเสริมปัจจัยปกป้องภายในบุคคลของเด็กนักเรียนจึงมีความสำคัญ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้มีเครื่องมือในการนำไปใช้เผชิญปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลงในชีวิต ซึ่งจะช่วยลดปริมาณปัญหาสุขภาพจิตลงได้การศึกษาครั้งนี้จึงสนใจที่จะศึกษาผลของโปรแกรมที่มีการเสริมสร้างปัจจัยภายในบุคคล โดยนำกระบวนการฝึกสติ ในการรับรู้และกำกับความคิด อารมณ์ความรู้สึก พฤติกรรมของตนเอง และการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
นักเรียนประถมศึกษาตอนปลายจาก 2 โรงเรียนในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม |
วัตถุประสงค์ |
This quasi-experimental study with two group comparison aims at examining the effectiveness of a healthy mind promotion with mindfulness program on primary school students’ psychological well-being. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Primary School Students |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
The result shows that the program can change psychological well-being. Mindfulness is a factor associated with the psychological well-being of primary school students. However, to promote psychological well-being effectively, further studies should be conducted to examine the difference between duration of practices and characteristics of students. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/JPNMH/article/view/247013 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (7) |
การสำรวจการกระจายกำลังคน ภาระงาน และผลลัพธ์การปฏิบัติงานของอาจารย์พยาบาลผู้มีคุณวุฒิปริญญาเอกในสถาบันการศึกษาพยาบาลในประเทศไทย |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Ratjai Vachprasit, Wongchan Ppetpichetchian, Supaporn Wannasuntad, Yaowarat Matchim, Yajai Sitthimongkol |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
การพัฒนาคุณภาพการบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ นับเป็นประเด็นที่สร้างความท้าทายให้กับผู้นำวิชาชีพพยาบาล ผู้บริหารองค์กรรวมถึงพยาบาลผู้ปฏิบัติงาน การศึกษาที่ผ่านมาสะท้อนให้เห็นความต้องการพยาบาลที่มีคุณวุฒิขั้นต่ำคือ ปริญญาตรี และคุณวุฒิในระดับที่สูงขึ้นจนถึงระดับปริญญาเอก |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
สถาบันการพยาบาลในประเทศไทย |
วัตถุประสงค์ |
To conduct a macro-perspective survey of workforce distribution, workload, and professional performance outcomes of doctorally-prepared nurse faculty (DNF) members in three major groups of nursing institutions in Thailand: 1) research-oriented universities; 2) the Nursing College of Praboromarajchanok Institute; and 3) other nursing institutions |
แหล่งทุนสนับสนุน |
สภาการพยาบาล |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
คณะพยาบาลศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
พยาบาลในประเทศไทย |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
It is advisable that nursing leaders at all levels provide DNF members with professional support and assistance to promote good performance outcomes. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/250367 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (8) |
Breastfeeding challenges among Thai adolescent mothers: hidden breastfeeding discontinuation experiences |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Sasitara Nuampa, Pharuhas Chanprapaph, Fongcum Tilokskulchai, Metpapha Sudphet |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
Successful exclusive breastfeeding can provide young mothers with a sense of accomplishment in the maternal role. Biologically, breastfeeding increases the release of several hormones including oxytocin, prolactin and cholecystokinin. These hormones promote maternal behavior and act synergistically to reduce stress by increasing relaxation. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
A university hospital in Bangkok |
วัตถุประสงค์ |
The purpose of this study was to explore the experiences of adolescent mothers who wean their babies from breastfeeding before the first six months from the perspective of a psychosocial aspect in the Thai context. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Thai adolescent mothers |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
The influence of key family members plays a vital role in breastfeeding and psychological outcomes. Therefore, family-adolescent support programs including support from the adolescents' mothers and grandmothers may improve breastfeeding outcomes, yield positive emotions and enhance maternal attachment. Moreover, healthcare professions are important mediators to convince adolescent mothers' key family members to reach an agreement and provide suitable support. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/JHR-01-2020-0011/full/html |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (9) |
ผลการเรียนรู้และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตที่เรียนกลุ่มปกติและกลุ่มสองภาษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Ruttanaporn Kongkar, Somsiri Rungamornarat, Patcharee Sanehjaroen, Supawadi Wayuhuerd, Penchan Sittipreechachan, Chophaka Suttipong, Khuttaleeya Khongpet, Onchuma Nakon |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
|
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
วัตถุประสงค์ |
This study aims to examine and compare the learning outcomes and desired characteristics of graduates who enrolled in the regular group and the bilingual group, and describe the learning experiences of the bilingual group. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
China Medical Board of New York, Inc., Facultyof Nursing, Mahidol University |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
- |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
Graduates students and Lecturers at Faculty of Nursing, Mahidol University |
ระดับความร่วมมือ |
Domestic Institutions |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
Graduates of the bilingual group had a high level of satisfaction in teaching and learning, therefore the program should enroll more students in the bilingual group. The nursing institute should prepare faculty members for this program by enhancing and supporting their English teaching competency. To increase student’s ability in learning English the institute should facilitate environment and activities to promote English communication for students. Pattern of teaching and learning should also be developed for achieving the bilingual students’ needs. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/250117 |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย (10) |
A multi-site Thailand heart failure snapshot study |
Indicator |
เสริมขีดความสามารถในการแจ้งเตือนล่วงหน้า การลดความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
Authors |
Thitipong Tankumpuan, Siriorn Sindhu, Nancy Perrin, Yvonne Commodore-Mensah, Chakra Budhathoki, William Padula, et al. |
คณะ/สาขาวิชา: |
Faculty of Nursing, Mahidol University |
ที่มาและความสำคัญ |
The prevalence of heart failure (HF) is increasing in many low-income and middle-income countries, but the limited availability of data on patient profiles and clinical outcomes, particularly at a community level, challenges health service planning. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา |
patients in Thailand who were admitted to five hospitals with a verified diagnosis of HF |
วัตถุประสงค์ |
The primary objective of this study was to obtain cross-sectional data on the management of patients with HF in Thailand and to examine, using the framework of the New South Wales Heart Failure Snapshot Study, sociodemographic and clinical characteristics of patients. |
แหล่งทุนสนับสนุน |
- |
หน่วยงานที่ร่วมมือ |
The Johns Hopkins University School of Nursing, Baltimore, MD, USA |
ผู้มีส่วนได้เสีย |
patients in Thailand who were admitted to five hospitals with a verified diagnosis of HF |
ระดับความร่วมมือ |
International Collaboration |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ |
Although HF patients admitted to university hospitals had access to advanced technology and health care specialists, clinical outcomes likely affected patient acuity. Interventions are urgently needed to ensure improved HF management considering the social determinants of health in Thailand. |
Web link อ้างอิงการดำเนินงาน |
https://www.heartlungcirc.org/article/S1443-9506(21)01155-0/fulltext |
รูปภาพประกอบ |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
|
Activity / Programme
โครงการพัฒนาระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นอย่างต่อเนื่องโดยพยาบาลผดุงครรภ์เจ้าของไข้ (คลินิกดาวชมพู) ปี 2564
Read Moreกิจกรรม บุคลากรจิตอาสาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในจุดคัดกรองและฉีดวัคซีนป้องกันCOVID-19
Read MoreThe MU-JHU NCD Research Collaborative Center หรือ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Read Moreคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มอบเงินรางวัลให้กับภาควิชาการพยาบาลรากฐาน ในโอกาสบรรลุตามข้อตกลงการปฏิบัติงานด้านการวิจัย
Read Moreการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพ และการช่วยเหลือเบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุในเด็กก่อนวัยเรียน
Read MoreConference / Meeting
ประชุมวิชาการออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM Meeting และ Facebook Live เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองสัปดาห์นมแม่โลก 2564 เรื่อง พยาบาลรวมใจ ปกป้องเด็กไทยได้กินนมแม่
Read Moreการประชุมวิชาการคณะพยาบาลศาสตร์ ครั้งที่ 30 เรื่อง การบริการสุขภาพบนโลกดิจิทัลอย่างชาญฉลาด (Smart Health Care on Digital World)
Read More
Copyright © 2024 -Faculty of Nursing, Mahidol University. All rights reserved. Webmaster: nswww@mahidol.ac.th