คณะพยาบาลศาสตร์ | มหาวิทยาลัยมหิดล |  
การวิจัย

ภาควิชาฯมีทิศทางในการวิจัยโดยมุ่งประเด็นปัญหาสำคัญทางสุขภาพจิตของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาวะซึมเศร้า เป็นภาวะที่ได้มีการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพและแนวทางในการให้การพยาบาลแก่กลุ่มเสี่ยงในทุกช่วงวัย นอกจากนี้ภาควิชายังได้ศึกษาวิจัยเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการจัดการอาการและดูแลผู้ป่วยจิตเภท ผู้ใช้สารเสพติด และผู้ที่มีปัญหาทางเพศ รวมทั้งภาควิชาได้เริ่มศึกษาวิจัยในการดูแลผู้ที่เจ็บป่วยใน 4 โรคสำคัญของจิตเวชเด็ก ได้แก่ ภาวะซนสมาธิสั้น เด็กออติซึม เด็กที่มีภาวะทางการเรียน และเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ทั้งนี้ความรู้ที่ได้จากการวิจัยจะนำมาพัฒนาการจัดเรียนการสอนและการปฏิบัติงานการพยาบาลให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลงานวิจัยและงานตีพิมพ์ที่ผ่านมา ดังนี้ 

จิตเวชเด็กและวัยรุ่น

  1. Klainin-Yobas, P., Thanoi, W., Vongsirimas, N., & Lau, Y. (2020) Evaluating the English and Thai-Versions of the Psychological Well-Being Scale across Four Samples. Psychology. 11: 71-86.
  2. Savitri Karin, P.A.E., Vongsirimas, N., Putdivarnichapong, W., &  Pornchaikate Au Yeong, A. (2020). Maternal Depression and Factors Predicting Depressive ymptoms in Adolescents in Bali, Indonesia. Enfermeria Clinica. (inpress)
  3. Thanoi W., Kasornsri S., Thavorn T., Vongsirimas N.(2018). Factors Influencing Mindfulness among Undergraduate Students. The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health, 32 (2):130-144. Thanoi W., Kasornsri S., Thavorn T., Vongsirimas N.(2018). Factors Influencing Mindfulness among Undergraduate Students. The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health, 32 (2):130-144.
  4. Kasornsri S., Pimroon S., Vongsirimas N. (2018). Prevalence and Factor Predicting Tabacco Smoking and Alcohol Use among Thai High School Students. Journal of Nursing Science. 36(3):9-19.
  5. Vongsirimas N., Phetrasuwan S., Thanoi W., Klinin Yobas P. (2018) Psychometric Properties of the Multi-dimensional Scale of Perceived Social Support among Thai Youth. Thai Pharmaceutical and Health Science Journal. 13(3): 135-141.
  6. Angsukiattitavorn S., Seeherunwong A., Panitrat R., Tipayamongkholgul M. (2020). Prevalence and Distribution Pattern of Mood Swings in Thai Adolescents: School-based Survey in the Central Region of Thailand. BMC Psychiatry, DOI : 10.1186/s12888-020-02605-0
  7. Pumpuang W., Seeherunwong A., & Vongsirimas N. (2018). Factors predicting intention to seek professional psychological help among nursing students. Pacific Rim International of Nursing Research, 22(3): 199-210.
  8. ประยูรศรี ศรีจันทร์, พวงเพชร เกษรสมุทร และวารีรัตน์ ถาน้อย. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์. วารสาร พยาบาลศาสตร์,38(1): 86-98.
  9. สุดารัตน์ เพียรชอบ และ พวงเพชร เกษรสมุทร. (2561). บทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการมีสติต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารพยาบาลศาสตร์,36(2): 78–87.
  10. Pumpuang, W., Seeherunwong, A., & Vongsirimas, N. (2018). Factors predicting intention to seek professional psychological help among nursing students. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 22(3),199-210.
  11. Srijan, P., Kaesornsamut, P., & Thanoi, W. (2020).Factors correlated with depression among  adolescents in Foster Homes.Nursing Science Journal of Thailand, 38(1),86-98
  12. ปัจจัยทำนายความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าในเด็กวัยรุ่นที่มีความผิดปกติการเรียนรู้ (J Med Assoc Thai, 2012)
  13. ผลของโปรแกรมป้องกันอาการซึมเศร้า (Band Intervention Program) ต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ความคิดทางลบ และอาการซึมเศร้าในวัยรุ่นไทย (Pacific Rim Int J Nur Res, 2012, 16(1))
  14. ประสิทธิผลของโปรแกรมความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียนในการจัดการพฤติกรรมสำหรับพ่อแม่และครูของเด็กซนสมาธิสั้น (Pacific Rim Int J Nur Res: 2012, 16(2))
  15. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ในชีวิตเชิงลบ การครุ่นคิดแหล่งทักษะภายในตนเอง และปัญหาทางจิตเวชของวัยรุ่นที่ใช้สารเสพติดในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (สงขลานคริทร์เวชสาร: 2012, 30(1))
  16. ความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรง รูปแบบการเลี้ยงดู และการปฏิบัติของเพื่อนกับพฤติกรรมรุนแรงของวัยรุ่น (วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา: 2012, 20(3))
  17. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวในครอบครัวของเด็กกลุ่มอาการดาวน์ (กำลังดำเนินการ)
  18. ประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลช่วยเหลือเด็กไทยที่มีภาวะออทิซึมสเปคตรัมโดยการประยุกต์ใช้รูปแบบของ TEACCH Model (กำลังดำเนินการ)
  19. การพัฒนาโปรแกรมต้นแบบการสื่อสารเรื่องเพศกับวัยรุ่น: เนื้อหาและรูปแบบที่มีความสอดคล้องกับเพศ อัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้างทางเพศ และคู่สื่อสารของวัยรุ่น (กำลังดำเนินการ)
  20. การพัฒนาโปรแกรมป้องกันโรคซึมเศร้าสำหรับวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงสูง (กำลังดำเนินการ)
  21. ผลของโปรแกรมป้องกันอาการซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาล
  22. การใช้วิธี Grounded Theory ในการศึกษาองค์ประกอบในการทำหน้าที่ของครอบครัวไทย
  23. ผลของโปรแกรมการฝึกโยคะต่อความสุข การเห็นคุณค่าในตนเอง และอาการซึมเศร้าในนักศึกษา (กำลังตีพิมพ์)

จิตเวชผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

  1. Racal, S.J., Sitthimongkol, Y., Prasopkittikun, T., Punpuing, S., Chansatitporn, N., & Strobbe, S. (2020), Factors influencing alcohol use among Myanmar Youth migrant workers in Thailand. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 24(2) 172-186.
  2. Kesornsri, S., Sitthimongkol, Y., Punpuing, S., Vongsirimas, N., & Hegadoren, K.M. (2019) Mental Health and Related Factors among Migrants from Myanmar in Thailand. Journal of Population and Social Studies. 27(2): 124-38.
  3. Soontorn, T., Sitthimongkol, Y., Thosingha, O., & Viwatwongkasem, C. (2018). Factors Influencing the Accuracy of Triage by Registered Nurses in Trauma Patients. Pacific Rim International Journal of Nursing Research. 22(2), 120-130.
  4. Phuca, W., Vongsirimas, N., & Thanoi, W. (2020). Factors Correlated with Psychological Well-being in Patients Receiving Hemodialysis. Nursing Science Journal of Thailand, 38(1), 73-85.
  5. Yothatip, H., Thananowan, N., Yusamran, C., & Vongsirimas, N. (2019). Factors Predicting Intimate Partner Violence among Pregnant Women with Sexually Transmitted Infections. Princess of Naradhiwas University Journal. 11(2): 35-48.
  6. Yothatip, H., Thananowan, N., Yusamran, C., & Vongsirimas, N. (2019). Factors Predicting Intimate Partner Violence among Pregnant Women with Sexually Transmitted Infections. Princess of Naradhiwas University Journal. 11(2): 35-48.
  7. Jiratchaya K., Sindu S., Seeherunwong A., Panitarat R., Viwatwongkasem C. (2020). Changes in health-related quality of life scores in patients with depression in the Thai health care delivery system. Journal of Health Research, 34 (5). Available at: https://doi.org/10.1108/JHR-06-2019-0130
  8. ปรียนันท์ สละสวัสดิ์ และ  อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2563). การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและลดอาการซึมเศร้าสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภท. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 34(1): 13-42.
  9. Thananowan, N., Kaesornsamut, P., O’rourke, T., & Hegadoren, K. (2018). How Thai Women manage living in the context of intimate partner violence. Journal of Interpersonal Violence, DOI:10.1177/0886260518799457: 1–23.
  10. Pianchob S, Muangpaisan W, & Siritipakorn P. (2017). Factor analysis and reliability of the family Stigma in Alzheimer’s disease scale-Thai version. Journal of Medical Association of Thailand, 100(12), 1318-1324.
  11. สุดารัตน์ เพียรชอบ และ พวงเพชร เกษรสมุทร. (2561). บทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการมีสติต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารพยาบาลศาสตร์,36(2), 78–87.
  12. Klakthongkorn S, Pornchaikate Au Yeong A, Yuttatri P. (2016). Factors influencing sexual risk behaviors among youth with amphetamine use. Journal of Nursing Science,34(2) (Suppl1), 40-52.
  13. Senadisai, S., Koshakri, R., Rerkluenrit, J., Kedcham, A., Meekusol, S., Jewpattanakul, Y., & Kasemsuk, W., Phetrasuwan, S., & Chinlumprasert, N. (2018). A survey of Positive Practice Environment (PPE) for professional nurses in Thailand. Thai Journal of Nursing, 67(4), 1-10. [in Thai]
  14. ปัจจัยทำนายอาการซึมเศร้าของผู้ดูแลผู้ที่มีภาวะสมองเสื่อม (กำลังตีพิมพ์)
  15. ปัจจัยทำนายอาการซึมเศร้าและสุขภาพกายของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท (กำลังตีพิมพ์)
  16. การพัฒนาและทดสอบโปรแกรมการป้องกันโรคซึมเศร้ากลุ่มวัยสูงอายุที่มีความเสี่ยงสูง (กำลังดำเนินการ)
  17. การทดสอบนวัตกรรมสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้หญิงที่มีโรคซึมเศร้าที่บ้าน (กำลังดำเนินการ)
  18. การประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเภท (กำลังดำเนินการ)
  19. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทางจิตวิทยากับการวินิจฉัยให้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพและผลการฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้เสพยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดในระบบบังคับบำบัด (การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด, 2555)
  20. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นผู้ใช้ยาเสพติดแบบพึ่งพาในผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด, 2555)
  21. การศึกษาข้อมูลการตรวจพิสูจน์ทางสังคมในระบบบังคับบำบัดติด (การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ถูกบังคับบำบัด, 2555)
  22. ปัจจัยทำนายอาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตเภทครั้งแรก (วารสารสภาการพยาบาล: 2012)

 

Copyright © 2019 Faculty of Nursing, Mahidol University. All rights reserved.
Webmaster:
nswww@mahidol.ac.th